คอร์สเรียน AutoCAD Mechanical สำหรับงานออกแบบงานเครื่องกล

ACM-01 : AutoCAD Mechanical Essential Course
Image

เนื้อหาหลักในคอร์สเรียนนี้

ผู้อบรมจะได้รับความรู้ในการใช้ฟีเจอร์ต่างๆ เครื่องมือ และเทคนิคที่เหมาะสมในการเขียนแบบเครื่องกล 2 มิติด้วยโปรแกรม AutoCAD Mechanical  โดยการอบรมจะจำลองการเขียนแบบจริง เพื่อให้ผู้อบรมได้รับประโยชน์สูงสุด สามารถนำไปใช้งานได้จริง เมื่อสำเร็จการอบรมแล้ว

วัตถุประสงค์
เพื่อให้ผู้อบรมเข้าใจถึงระบบการใช้โปรแกรม AutoCAD Mechanical ได้อย่างถูกต้อง เพื่อนำไปใช้ในการออกแบบ เขียนแบบทางด้านอุตสหากรรมได้อย่างมืออาชีพ

คุณสมบัติผู้เข้าอบรม

  • มีความรู้ทางการเขียนแบบ ออกแบบอุตสาหกรรม หรือทางวิศวอุตสาหกรรม
  • มีพื้นฐานด้านการใช้ Microsoft Windows เบื้องต้นได้
  • ระดับ : เบื้องต้น

ค่าอบรม (ราคานี้ยังไม่รวมภาษีมูลค่าเพิ่ม)

  • สอนสด 7,500 บาท/คน/คอร์ส (2 วัน) (รวมค่าอบรม ค่าอาหารกลางวัน อาหารว่าง ค่าหนังสือ)
  • สอนสดออนไลน์ x,xxx บาท/คน/คอร์ส (2 วัน) (รวมค่าอบรม ค่าหนังสือ)

เนื้อหาในการอบรม

รู้จักกับโปรแกรมเบื้องต้น (Introduction to AutoCAD Mechanical)

  • หน้าต่างติดต่อกับผู้ใช้งาน User Interface
  • การปรับแต่ง User Interface
  • การ Setting Workspace เพื่อเก็บค่าเริ่มต้น
  • ระบบคอร์ออร์ดิเนท Coordinate System
  • การใช้งานเมนูบราวเซอร์ Menu bar
  • การใช้งานริบบอน Ribbon bar
  • การใช้คำสั่งมุมมองต่างๆ
  • การตั้งค่าโปรแกรมก่อนการใช้งาน

กลุ่มคำสั่งในการใช้สร้างวัตถุ (Create Object Tools)

  • การใช้งานคำสั่ง Symmetrical Line
  • การใช้งานคำสั่ง Zigzag Line
  • การใช้งานคำสั่ง Rectangle แบบ Corner
  • การใช้งานคำสั่ง Rectangle แบบ Mid-point of base
  • การใช้งานคำสั่ง Rectangle แบบ Mid-point of height
  • การใช้งานคำสั่ง Rectangle แบบ Center
  • การใช้งานคำสั่ง Centerlines
  • การใช้งานคำสั่ง Centerlines Cross
  • การใช้งานคำสั่ง Center Mark
  • การใช้งานคำสั่ง Centerline Cross on Plate
  • การใช้งานคำสั่ง Centerline Cross in Corner
  • การใช้งานคำสั่ง Centerline Cross in Between
  • การใช้งานคำสั่ง Centerline Cross in Hole
  • การใช้งานคำสั่ง Centerline Cross with Hole
  • การใช้งานคำสั่ง Centerline Cross in Angle

กลุ่มคำสั่งในการสร้างเส้นช่วยในการเขียนภาพฉาย (Construction Lines)

  • การใช้งานคำสั่ง Construction Lines
  • การใช้งานคำสั่ง Automatic Construction Lines
  • การใช้งานคำสั่ง Projection
  • การใช้งานคำสั่ง Construction Horizontal
  • การใช้งานคำสั่ง Construction Vertical
  • การใช้งานคำสั่ง Construction Cross

กลุ่มคำสั่งในการสร้างแบบขยายเฉพาะส่วน

  • การใช้งานคำสั่ง Hide Situation
  • การใช้งานคำสั่ง Section View
  • การใช้งานคำสั่ง Detail View
  • การใช้งานคำสั่ง Break out line
  • การใช้งานคำสั่ง Weld Representation

กลุ่มคำสั่งสำหรับการจัดการเลเยอร์ (Mechanical Layers and Layer Control)

  • การใช้งานแถบ Mechanical Layers
  • การสร้างเลเยอร์  Layer
  • การกำหนดสีของวัตถุ Color
  • การกำหนดรูปแบบของเส้น Line Type
  • การกำหนดความหนาเส้น Line Weight

กลุ่มเครื่องมือในการใช้งานแก้ไขวัตถุ (Modify objects Tools)

  • การใช้งานคำสั่ง Power Copy
  • การใช้งานคำสั่ง Power Erase
  • การใช้งานคำสั่ง Power Recall
  • การลบวัตถุ  Erase
  • การลบมุมตัด  Chamfer
  • การลบมุมโค้ง  Fillet
  • การระเบิดวัตถุ  Explode
  • การแก้ไขลวดลายแฮทช์  Hatch
  • การแก้ไขเส้นโพลีไลน์  Polyline
  • การคัดลอกวัตถุ  Copy
  • การคัดลอกวัตถุในลักษณะพลิกกลับ  Mirror
  • การสร้างเส้นคุ่ขนาน  Offset
  • การคัดลอกวัตถุแบบแถวและคอลัมน์  Rectangular  Array
  • การคัดลอกวัตถุตามแนวเส้น  Path Array
  • การคัดลอกวัตถุรอบจุดศูนย์กลาง  Polar  Array
  • การหมุนวัตถุ  Rotate
  • การย่อหรือขยายขนาดวัตถุ  Scale
  • การดึงวัตถุให้ยืดหรือหด  Stretch
  • การเพิ่มหรือลดความยาวเส้น  Lengthen
  • การตัดเส้น  Trim
  • การต่อเส้น  Extend
  • การใช้งานคำสั่ง Array

กลุ่มเครื่องมือในการถอดรายการวัสดุ-อุปกรณ์แบบอัติโนมัติ (Bill of Materials, Parts Lists, and Balloons)

  • การใช้งานคำสั่ง Balloon
  • การใช้งานคำสั่ง Auto Balloon
  • การใช้งานคำสั่ง Part Reference
  • การใช้งานคำสั่ง Part-list
  • การใช้งานคำสั่ง Hole Chat
  • การใช้งานคำสั่ง Fits List
  • การใช้งานคำสั่ง Table

กลุ่มเครื่องมือในการคำนวณหาค่าความแข็งแรงทางวิศวกรรม (Design Calculations)

  • การคำวณหาการแอ่นตัวของคานในรูปแบบ 2มิติ (Deflection line)
  • การวิเคราะห์ความแข็งแรงของวัตถุในรูปแบบ 2มิติ FEA (Finite Element Analysis)
  • การคำนวณหาค่า โมเมนต์ความเฉื่อย (Moment of Inertia)

กลุ่มคำสั่งสำหรับการจัดหน้ากระดาษ Layout และ Plotting

  • หลักการจัดเตรียมหน้ากระดาษ
  • การกำหนดขนาดเลเอาท์ Layout
  • การสร้างวิวพอร์ท
  • การกำหนดมาตราส่วนให้กับวิวพอร์ท
  • การจัดตำแหน่งชิ้นงานในวิวพอร์ท
  • ขั้นตอนการจัดหน้ากระดาษ

กลุ่มเครื่องมือในการถอดรายการวัสดุ-อุปกรณ์แบบอัติโนมัติ (Bill of Materials, Parts Lists, and Balloons)

  • การใช้งานคำสั่ง Balloon
  • การใช้งานคำสั่ง Auto Balloon
  • การใช้งานคำสั่ง Part Reference
  • การใช้งานคำสั่ง Part-list
  • การใช้งานคำสั่ง Hole Chat
  • การใช้งานคำสั่ง Fits List
  • การใช้งานคำสั่ง Table

กลุ่มเครื่องมือในการคำนวณหาค่าความแข็งแรงทางวิศวกรรม (Design Calculations)

  • การคำวณหาการแอ่นตัวของคานในรูปแบบ 2มิติ (Deflection line)
  • การวิเคราะห์ความแข็งแรงของวัตถุในรูปแบบ 2มิติ FEA (Finite Element Analysis)
  • การคำนวณหาค่า โมเมนต์ความเฉื่อย (Moment of Inertia)

กลุ่มคำสั่งสำหรับการจัดหน้ากระดาษ Layout และ Plotting

  • หลักการจัดเตรียมหน้ากระดาษ
  • การกำหนดขนาดเลเอาท์ Layout
  • การสร้างวิวพอร์ท
  • การกำหนดมาตราส่วนให้กับวิวพอร์ท
  • การจัดตำแหน่งชิ้นงานในวิวพอร์ท
  • ขั้นตอนการจัดหน้ากระดาษ