คอร์สอบรม Autodesk Revit สำหรับงานระบบประปาสุขาภิบาลและระบบดับเพลิงในอาคาร

SAN-01 : Autodesk Revit Sanitary Modeling for Building Project Training Course

คอร์สเรียน Autodesk Revit งานระบบประปาสุขาภิบาลและระบบดับเพลิง อาคารขนาดใหญ่

เนื้อหาหลักในคอร์สเรียนนี้

ผู้เข้าอบรมจะได้ฝึกฝนทักษะการใช้งานคำสั่งที่เกี่ยวข้องกับการสร้างโมเดลงานระบบประปาสุขาภิบาลและระบบดับเพลิง ตั้งแต่การนำเข้าไฟล์โมเดลงานสถาปัตย์, โมเดลงานโครงสร้างและไฟล์งานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง ศึกษาการเชื่อมโยงค่าพิกัดอาคารระหว่างไฟการสร้างโมเดลงานระบบประปาสุขาภิบาลและระบบดับเพลิงในห้องเครื่อง Pump ระบบบำบัดน้ำเสียในถังบำบัด ระบบประปาสุขาภิบาลในห้องพักอาศัย และระบบดับเพลิงในบริเวณส่วนกลางและลานจอดรถ เป็นต้น

วัตถุประสงค์
เพื่อให้ผู้เข้าอบรมมีทักษะการสร้างโมเดลงานระบบประปาสุขาภิบาลและระบบดับเพลิงจากโปรแกรม Autodesk Revit สำหรับงานอาคารขนาดใหญ่และนำไปใช้งานจริงได้อย่างถูกต้อง

คุณสมบัติผู้เข้าอบรม

  • ผ่านการอบรมคอร์สพื้นฐาน RVT-01 มาก่อน หรือหากมีพื้นฐานการใช้งาน Autodesk Revit อยู่แล้ว สามารถทำแบบทดสอบวัดระดับก่อนเข้าอบรมได้
  • มีประสบการณ์ด้านการทำงานสถาปัตยกรรม
  • สามารถใช้งานคอมพิวเตอร์พื้นฐานได้
  • ระดับ : เบื้องต้น – ปานกลาง

คอร์สนี้เหมาะกับใคร

วิศวกรประปา

วิศวกรประปา

วิศวกรสุขาภิบาล

วิศวกรสุขาภิบาล

วิศวกรระบบดับเพลิง

วิศวกรระบบดับเพลิง

BIM Coordinator (MEP)

BIM Coordinator (MEP)

ผู้ควบคุมโครงการระบบ

ผู้ควบคุมโครงการระบบ

นักตรวจสอบระบบ MEP

นักตรวจสอบระบบ MEP

เนื้อหาในการอบรม

1. การเริ่มต้นสร้างไฟล์สำหรับโมเดลงานระบบประปาสุขาภิบาลและดับเพลิง

  • การเลือกใช้ Template File สำหรับงานระบบประปาสุขาภิบาลและดับเพลิง (SN&FP)
  • การ Save ไฟล์ และการตั้งชื่อไฟล์
  • การตั้งค่า Project Unit ในหมวด Piping สำหรับงานระบบประปาสุขาภิบาลและดับเพลิง
  • การตั้งค่า Mechanical Setting สำหรับงานเครื่องกล

2. การนำเข้าโมเดลงานสถาปัตย์เข้ามาใช้งานในงานระบบประปาสุขาภิบาลและดับเพลิง

  • การนำเข้าโมเดลงานสถาปัตย์มาใช้ในไฟล์งานระบบ
  • การนำค่าพิกัดจากไฟล์งานสถาปัตย์มาใช้ในงานระบบ
  • การกำหนดจุดอ้างอิง Survey Point และ Project Base Point
  • การคัดลอกข้อมูลจากไฟล์งานสถาปัตย์โดยใช้คำสั่ง Copy/Monitor
  • การตรวจสอบการเปลี่ยนแปลงของโมเดลโดยใช้คำสั่ง Coordination Review
  • การจัดการไฟล์ Link ด้วยคำสั่ง Manage Link
  • การแบ่งไฟล์งานระบบประปาสุขาภิบาลและดับเพลิงโดยใช้วิธีการ Link

3. การสร้างมุมมองและนำเข้าข้อมูลสำหรับระบบประปาสุขาภิบาล

  • การสร้างแปลนพื้น (Floor Plan) โดยอ้างอิงระดับชั้นจากงานสถาปัตย์
  • การสร้างแปลนฝ้าเพดาน (Ceiling Plan) โดยอ้างอิงระดับชั้นจากงานสถาปัตย์
  • การจัดเรียงรายการมุมมอง (View) ในหน้าต่าง Project Browser
  • การสร้างมุมมองรูปด้าน รูปตัด แบบขยาย สำหรับโมเดลงานระบบประปาสุขาภิบาล
  • การตั้งค่าการแสดงผล ความละเอียด และระดับการมองเห็นของแต่ละมุมมอง
  • การนำเข้าไฟล์ AutoCAD (.dwg) โดยวิธี Link CAD
  • การนำเข้าไฟล์ AutoCAD (.dwg) โดยวิธี Import CAD
  • การนำเข้า family ของอุปกรณ์เข้ามาในโมเดลงานระบบประปาสุขาภิบาล

4. การกำหนด Piping System และ Pipe Type สำหรับระบบประปาสุขาภิบาลและดับเพลิง

  • การกำหนดระบบท่อ (Piping System) และกำหนดสี สำหรับระบบประปาสุขาภิบาล
  • การกำหนดระบบท่อ (Piping System) และกำหนดสี สำหรับระบบดับเพลิง
  • การสร้าง Pipe Segment และการกำหนด Size Catalog ของท่อชนิดต่างๆ
  • การสร้างชนิดท่อ (Pipe Type) และการเลือก Pipe Fitting สำหรับระบบประปาสุขาภิบาล
  • การสร้างชนิดท่อ (Pipe Type) และการเลือก Pipe Fitting สำหรับระบบดับเพลิง
  • การถ่ายโอนข้อมูล Piping System โดยใช้คำสั่ง Transfer Project Standard

5. การสร้างโมเดลระบบประปาในห้องเครื่องปั๊ม (Pump Room)

  • การนำเข้าไฟล์ AutoCAD (.dwg) มาใช้ในการอ้างอิงตำแหน่งอุปกรณ์และแนวท่อ
  • การนำเข้าอุปกรณ์ Pump และตู้ควบคุมสำหรับระบบประปา
  • การจัดวางอุปกรณ์ Pump สำหรับระบบประปา
  • การจัดวางอุปกรณ์ตู้ควบคุมปั๊ม
  • การสร้างโมเดลท่อระบบประปาภายในห้องเครื่อง
  • การเดินท่อ Main ระบบประปา จากห้องเครื่องไปยังท่อ Riser
  • การจัดวางอุปกรณ์ Valve และอุปกรณ์ต่างๆที่เกี่ยวข้อง

6. การสร้างโมเดลระบบดับเพลิงในห้องเครื่อง

  • การนำเข้าไฟล์ AutoCAD (.dwg) มาใช้ในการอ้างอิงตำแหน่งอุปกรณ์และแนวท่อ
  • การนำเข้าอุปกรณ์ Fire Pump, Jockey Pump, ถังน้ำมัน และตู้ควบคุมภายในห้องเครื่อง
  • การจัดวางอุปกรณ์ Fire Pump และ Jockey Pump
  • การจัดวางอุปกรณ์ถังน้ำมันและตู้ควบคุม
  • การสร้างโมเดลท่อระบบดับเพลิงภายในห้องเครื่อง
  • การเดินท่อ Main ระบบดับเพลิงจากห้องเครื่องไปยังท่อ Riser
  • การจัดวางอุปกรณ์ Valve และอุปกรณ์ต่างๆที่เกี่ยวข้อง

7. การสร้างโมเดลระบบน้ำเสียในถังบำบัด (Waste Water Treatment Plant)

  • การนำเข้าไฟล์ AutoCAD (.dwg) มาใช้ในการอ้างอิงตำแหน่งอุปกรณ์และแนวท่อ
  • การนำเข้าอุปกรณ์ Pump และ Aerator
  • การจัดวางอุปกรณ์ Pump และ Aerator
  • การเดินท่อน้ำเสีย Soil Water  Waste Water และ Vent จากท่อ Riser มายังถังบำบัด
  • การเดินท่อน้ำเสีย Soil Water และ Waste Water ภายในถังบำบัด
  • การเดินท่อ Vent ภายในถังบำบัด
  • การเดินท่อน้ำทิ้งจากถังบำบัดไปยังภายนอกอาคาร

8. การสร้างโมเดลระบบประปาสุขาภิบาลห้องน้ำส่วนกลาง

  • การนำเข้าไฟล์ AutoCAD (.dwg) มาใช้ในการอ้างอิงตำแหน่งอุปกรณ์และแนวท่อ
  • การนำเข้าและการวางสุขภัณฑ์ภายในห้องน้ำส่วนกลาง
  • การสร้างโมเดลท่อน้ำเสียภายในห้องน้ำส่วนกลาง
  • การสร้างโมเดลท่อน้ำประปาภายในห้องน้ำส่วนกลาง ในรูปแบบทั่วไป
  • การสร้างโมเดลท่อน้ำประปาภายในห้องน้ำส่วนกลาง ในรูปแบบอัตโนมัติ
  • การจัดวางอุปกรณ์ Valve และอุปกรณ์ P-Trap

9. การสร้างโมเดลท่อ Main และท่อ Riser ระบบประปาสุขาภิบาล

  • การนำเข้าไฟล์ AutoCAD (.dwg) มาใช้ในการอ้างอิงตำแหน่งและแนวท่อ
  • การสร้างโมเดลท่อยืน (Riser) ในช่อง Shaft หลัก
  • การสร้างโมเดลท่อยืน (Riser) ในช่อง Shaft หน้าห้องพัก
  • การสร้างโมเดลท่อ Main ระบบสุขาภิบาลใต้ชั้นห้องพัก
  • การเชื่อมต่อท่อ Riser จากช่อง Shaft กับท่อ Main

10. การสร้างโมเดลระบบประปาสุขาภิบาลห้องน้ำห้องพัก

  • การตั้งค่าการมองเห็น Visibility/Graphics และ View Range
  • การนำเข้าไฟล์ AutoCAD (.dwg) มาใช้ในการอ้างอิงตำแหน่งอุปกรณ์และแนวท่อ
  • การนำเข้าและการวางสุขภัณฑ์ภายในห้องน้ำห้องพัก
  • การสร้างโมเดลท่อน้ำเสียภายในห้องน้ำห้องพัก
  • การสร้างโมเดลท่อน้ำประปาภายในห้องน้ำห้องพัก ในรูปแบบทั่วไป
  • การสร้างโมเดลท่อน้ำประปาภายในห้องน้ำห้องพัก ในรูปแบบอัตโนมัติ
  • การจัดวางอุปกรณ์ Water Meter และ Valve
  • การจัดวางอุปกรณ์ Water Hammer Arrestor

11. การจัดวางอุปกรณ์ Sprinkler และการสร้างโมเดลท่อระบบดับเพลิงในชั้นห้องพัก

  • การสร้างแปลนพื้น (Floor Plan) โดยอ้างอิงระดับชั้นจากงานสถาปัตย์
  • การสร้างแปลนฝ้าเพดาน (Ceiling Plan) โดยอ้างอิงระดับชั้นจากงานสถาปัตย์
  • การนำเข้าไฟล์ AutoCAD (.dwg) มาใช้ในการอ้างอิงตำแหน่งอุปกรณ์และแนวท่อ
  • การนำเข้าอุปกรณ์ Sprinkler , Fire Hose Cabinet และถังดับเพลิงชนิดมือถือ
  • การจัดวางอุปกรณ์หัวจ่ายน้ำดับเพลิง Sprinkler ชนิดฝังฝ้า Pendent
  • การจัดวางอุปกรณ์หัวจ่ายน้ำดับเพลิง Sprinkler ชนิดติดผนัง Sidewall
  • การเดินท่อระบบดับเพลิงภายในห้องพัก
  • การสร้างโมเดล ท่อ Main ระบบดับเพลิงบริเวณโถงทางเดิน
  • การจัดวางอุปกรณ์หัวจ่ายน้ำดับเพลิง Sprinkler ชนิด Upright
  • การเชื่อมต่อท่อระบบดับเพลิงภายในห้องพักเข้ากับท่อ Main
  • การจัดวางอุปกรณ์ Fire Hose Cabinet
  • การจัดวางอุปกรณ์ ถังดับเพลิงชนิดมือถือ Fire Extinguisher

12. การจัดวางอุปกรณ์ Sprinkler และการสร้างโมเดลท่อระบบดับเพลิงชั้นจอดรถ

  • การนำเข้าไฟล์ AutoCAD (.dwg) มาใช้ในการอ้างอิงตำแหน่งอุปกรณ์และแนวท่อ
  • การวางอุปกรณ์หัวจ่ายน้ำดับเพลิง Sprinkler ชนิด Upright
  • การเดินท่อระบบดับเพลิงจากอุปกรณ์ Sprinkler
  • การจัดวางอุปกรณ์ Fire Hose Cabinet
  • การสร้างโมเดลท่อ Main ระบบดับเพลิง
  • การจัดวางอุปกรณ์ ถังดับเพลิงชนิดมือถือ Fire Extinguisher

13. การส่งออกไฟล์ (Export)

  • การส่งออกไฟล์ในรูปแบบ PDF File
  • การส่งออกไฟล์ในรูปแบบ DWG เพื่อนำไปใช้ในโปรแกรม AutoCAD
  • การส่งออกไฟล์ในรูปแบบ NWC เพื่อนำไปใช้ในโปรแกรม Navisworks

ค่าอบรม (ราคานี้ยังไม่รวมภาษีมูลค่าเพิ่ม)

คอร์สอนสด

สอนสด 12,000 บาท /คน/คอร์ส (3 วัน)
(รวมค่าอบรม ค่าอาหารกลางวัน อาหารว่าง ค่าหนังสือ)

คอร์สอนออนไลน์

สอนสดออนไลน์ x,xxx บาท /คน/คอร์ส (3 วัน)
(รวมค่าอบรม ค่าหนังสือ)

คอร์สเรียนจากทาง Synergysoft Educenter ได้รับความไว้วางใจจากบริษัทและหน่วยงานชั้นนำ

Synergysoft Education Center

135/58 ชั้น 19 อาคารอมรพันธุ์ 205 ทาวเวอร์ 2 ซ.รัชดาภิเษก7 ถนนรัชดาภิเษก แขวงดินแดง เขตดินแดง กรุงเทพฯ 10400

© 2025 Synergysoft Education Center. All Rights Reserved.